บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดการประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 11 กันยายน 2557 เวลาเรียน 08.30 - 12.20 น.
ความรู้ที่ได้รับ
ความหมายของวิทยาศาสตร์
การศึกษาสืบค้นและจัดระบบความจริงเกี่ยวกับธรรมชาติโดยอาศัยกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ประกอบด้วยวิธีการทักษะกระบวนการและเจตคติทางวิทยาศาสตร์อย่างมีระบบแบบแผนมีขอบเขตโดยอาศัยการสังเกต
การทดลองเพื่อค้นหาความเป็นจริงและทำให้ได้มาซึ่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป
คุณลักษณะตามวัย > พัฒนาการ > สมอง
ธรรมชาติของเด็ก คือ เด็กจะสนใจสิ่งรอบตัว
มาตราฐาน คือ เกณฑ์ขั้นต่ำ
ครูไม่ควรสอนเนื้อหามาก
ควรสอนแบบเรียนรู้ตามธรรมชาติ การเล่น คือ การเรียนรู้
เกณฑ์ในการจำแนก
- รูปร่าง
- ขนาด
แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
- การเปลี่ยนแปลง
- ความแตกต่าง
การปรับตัว
ความรู้ใหม่ > ความรู้เดิม = ความรู้ใหม่
การศึกษาวิธีการทางวิทยาศาสตร์
- ขั้นกำหนดปัญหา
- ขั้นตั้งสมมติฐาน
- ขั้นรวบรวมข้อมูล
- ขั้นลงข้อสรุปการ
เจตคติทางวิทยาศาสตร์
- ความอยากรู้อยากเห็น
- ความเพียรพยายาม
- ความมีเหตุผล
- ความซื่อสัตย์
- ความมีระเบียบรอบคอบ
- ความใจกว้าง
ความสำคัญและประโยชน์ของวิทยาศาสตร์
- ความสำคัญของวิทยาศาสตร์
ตอบสนองความต้องการตามวัยของเด็ก
พัฒนาทักษะทางกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เสริมสร้างประสบการณ์
- ประโยชน์ของวิทยาศาสตร์
พัฒนาความคิดรวบยอดพื้นฐาน
พัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
สร้างความเชื่อมั่นใจตนเอง
บทความที่1 หลักสูตรวิทยาศาสตร์ปฐมวัย
จำเป็นหรือไม่?
บทความที่2 5แนวทางสอนคิดเติมวิทย์ให้เด็กอนุบาล
บทความที่3 อพวช.ผลึกพันธมิตรจัดงาน "วันนักวิทยาศาสตร์น้อย"
บทความที่4 สอนลูกเรื่องภาวะโลกร้อน
บทความที่2 5แนวทางสอนคิดเติมวิทย์ให้เด็กอนุบาล
บทความที่3 อพวช.ผลึกพันธมิตรจัดงาน "วันนักวิทยาศาสตร์น้อย"
บทความที่4 สอนลูกเรื่องภาวะโลกร้อน
การนำไปประยุกต์ใช้
-สามารถจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ที่เป็นขั้นตอนให้แก่เด็กได้
-นำไปประยุกต์ใช้กับการเรียนได้ค่ะ
วิธีการสอน
- อาจารย์ใช้คำถาม คำตอบในการสอน